messager
place สถานที่ท่องเที่ยว
สถานที่ท่องเที่ยว
info_outline วิสัยทัศน์-พันธกิจ
วิสัยทัศน์หน่วยงานวิสัยทัศน์ (Vision) “พอกน้อยน่าอยู่ มุ่งสู่นวัตกรรม นำเศรษฐกิจพอเพียง รองรับ AEC ประชาชนมีส่วนร่วม” พันธกิจ (Mission) 1. จัดให้มีและบำรุงรักษาโครงสร้างพื้นฐานทางบก ทางน้ำ และไฟฟ้า 2. ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิต และพัฒนาการศึกษาของประชาชน 3. ส่งเสริมและเสริมสร้างการจัดระเบียบชุมชน สังคมและความสงบเรียบร้อย 4. ส่งเสริมและเสริมสร้างการค้า การลงทุน พาณิชยกรรม เกษตรกรรม 5. ส่งเสริมและสนับสนุนการท่องเที่ยว ประเพณี ศิลปะ วัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น 6. ส่งเสริมและเสริมสร้างการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 7. ส่งเสริมและสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค เพื่อมุ่งสู่ตำบลสุขภาวะ 8. เสริมสร้างความรู้รักสามัคคี และเสริมสร้างความมั่นคงของชาติ
วิสัยทัศน์หน่วยงาน

วิสัยทัศน์ (Vision)

พอกน้อยน่าอยู่ มุ่งสู่นวัตกรรม นำเศรษฐกิจพอเพียง รองรับ AEC ประชาชนมีส่วนร่วม

พันธกิจ (Mission)

1. จัดให้มีและบำรุงรักษาโครงสร้างพื้นฐานทางบก ทางน้ำ และไฟฟ้า

2. ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิต และพัฒนาการศึกษาของประชาชน

3. ส่งเสริมและเสริมสร้างการจัดระเบียบชุมชน สังคมและความสงบเรียบร้อย

4. ส่งเสริมและเสริมสร้างการค้า การลงทุน พาณิชยกรรม เกษตรกรรม

5. ส่งเสริมและสนับสนุนการท่องเที่ยว ประเพณี ศิลปะ วัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น

6. ส่งเสริมและเสริมสร้างการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

7. ส่งเสริมและสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค เพื่อมุ่งสู่ตำบลสุขภาวะ

8. เสริมสร้างความรู้รักสามัคคี และเสริมสร้างความมั่นคงของชาติ

วิสัยทัศน์-พันธกิจ
วิสัยทัศน์หน่วยงาน

วิสัยทัศน์ (Vision) “พอกน้อยน่าอยู่ มุ่งสู่นวัตกรรม นำเศรษฐกิจพอเพียง รองรับ AEC ประชาชนมีส่วนร่วม” พันธกิจ (Mission) 1. จัดให้มีและบำรุงรักษาโครงสร้างพื้นฐานทางบก ทางน้ำ และไฟฟ้า 2. ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิต และพัฒนาการศึกษาของประชาชน 3. ส่งเสริมและเสริมสร้างการจัดระเบียบชุมชน สังคมและความสงบเรียบร้อย 4. ส่งเสริมและเสริมสร้างการค้า การลงทุน พาณิชยกรรม เกษตรกรรม 5. ส่งเสริมและสนับสนุนการท่องเที่ยว ประเพณี ศิลปะ วัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น 6. ส่งเสริมและเสริมสร้างการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 7. ส่งเสริมและสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค เพื่อมุ่งสู่ตำบลสุขภาวะ 8. เสริมสร้างความรู้รักสามัคคี และเสริมสร้างความมั่นคงของชาติ
วิสัยทัศน์หน่วยงาน

วิสัยทัศน์ (Vision)

พอกน้อยน่าอยู่ มุ่งสู่นวัตกรรม นำเศรษฐกิจพอเพียง รองรับ AEC ประชาชนมีส่วนร่วม

พันธกิจ (Mission)

1. จัดให้มีและบำรุงรักษาโครงสร้างพื้นฐานทางบก ทางน้ำ และไฟฟ้า

2. ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิต และพัฒนาการศึกษาของประชาชน

3. ส่งเสริมและเสริมสร้างการจัดระเบียบชุมชน สังคมและความสงบเรียบร้อย

4. ส่งเสริมและเสริมสร้างการค้า การลงทุน พาณิชยกรรม เกษตรกรรม

5. ส่งเสริมและสนับสนุนการท่องเที่ยว ประเพณี ศิลปะ วัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น

6. ส่งเสริมและเสริมสร้างการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

7. ส่งเสริมและสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค เพื่อมุ่งสู่ตำบลสุขภาวะ

8. เสริมสร้างความรู้รักสามัคคี และเสริมสร้างความมั่นคงของชาติ

info_outline ข้อมูลหน่วยงาน
ข้อมูลทั่วไปของหน่วยงานสภาพทั่วไป 1. ข้อมูลสภาพทั่วไป 1.1 ลักษณะที่ตั้ง/อาณาเขต องค์การบริหารส่วนตำบลพอกน้อย ได้รับการจัดตั้งเป็นองค์การบริหารส่วนตำบลพอกน้อย เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2540 ตามประกาศลงวันที่ 16 ธันวาคม 2539 เป็นองค์การบริหารส่วนตำบล 1 ใน 10 ของอำเภอพรรณานิคม จังหวัดสกลนคร ต่อมาได้เปลี่ยนแปลงฐานะเป็นเทศบาลตำบลพอกน้อย ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เมื่อวันที่ 12 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2552 สำนักงานเทศบาลตำบลพอกน้อย ตั้งอยู่หมู่ที่ 8 บ้านพอกน้อยพัฒนา ตำบลพอกน้อย อำเภอพรรณานิคม จังหวัดสกลนคร ห่างจากอำเภอพรรณานิคม ทางด้านทิศตะวันออกของอำเภอ ประมาณ 14 กิโลเมตร และห่างจากจังหวัดสกลนครทางด้านทิศตะวันตกของจังหวัดประมาณ 25 กิโลเมตร ตำบลพอกน้อยมีอาณาเขตติดต่อกับตำบลต่าง ๆ ดังนี้ คือ :- ทิศเหนือ ติดกับ ตำบลสว่าง อำเภอพรรณานิคม จังหวัดสกลนคร ทิศใต้ ติดกับ ตำบลนาหัวบ่อ อำเภอพรรณานิคม จังหวัดสกลนคร ทิศตะวันออก ติดกับ ตำบลนาหัวบ่อ อำเภอพรรณานิคม และตำบลหนองลาด อ.เมือง ทิศตะวันตก ติดกับ ตำบลวังยาง อำเภอพรรณานิคม จังหวัดสกลนคร พื้นที่ เทศบาลตำบลพอกน้อย มีพื้นที่ทั้งหมด 23,437.50 ไร่ หรือ 37.50 ตารางกิโลเมตร 1.2 สภาพภูมิประเทศ ลักษณะภูมิประเทศโดยทั่วไปของตำบลพอกน้อย มีสภาพพื้นที่ราบ ทางด้านตะวันออกมีความสูงจากระดับน้ำทะเลปานกลางน้อยกว่า 180 เมตร ลาดต่ำลงสู่ด้านทิศเหนือของตำบลมีความลาดชัน 0 – 1 % พื้นที่ส่วนใหญ่มีสภาพเป็นดินเค็ม มีแหล่งน้ำธรรมชาติกระจายอยู่ทั่วไปทุกหมู่บ้านที่สำคัญ ได้แก่ ลำน้ำอูน ห้วยใต้ ห้วยบึง ห้วยไผ่ หนองผักแพว หนองคงคา หนองแบน เป็นต้น ได้รับน้ำชลประทานเพื่อทำการเกษตรตลอดปีจากเขื่อนชลประทานน้ำอูน โดยมีคลองส่งน้ำถึงทุกหมู่บ้าน ข้าวนาปีที่ปลูกเป็นหลัก คือ พันธุ์ กข.6 และพืชอายุสั้นที่ปลูกหลังการทำนา ได้แก่ แตงแคนตาลูป พริก ถั่วลิสง มะเขือเทศ แตงโม 1.3 สภาพภูมิอากาศ ลักษณะภูมิอากาศของอำเภอพรรณานิคม มี 3 ฤดู ฤดูร้อน เริ่มตั้งแต่เดือนมีนาคม - เดือนพฤษภาคมของทุกปี ซึ่งอากาศจะร้อนมากในเดือนเมษายน ฤดูฝน เริ่มตั้งแต่เดือนพฤษภาคม - เดือนตุลาคมของทุกปี ฝนจะตกชุกในช่วงเดือนกรกฎาคม -สิงหาคม ฤดูหนาว เริ่มตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน - เดือนกุมภาพันธ์ อากาศจะหนาวจัดในช่วงเดือนธันวาคม –เดือนมกราคม จำนวนหมู่บ้าน 12 หมู่บ้าน ได้แก่ จำนวนหมู่บ้านในเขตเทศบาลตำบลพอกน้อย เต็มพื้นที่ทั้งหมด 12 หมู่บ้าน เรียงตามลำดับ ดังนี้ หมู่ที่ 1 บ้านพอกน้อย หมู่ที่ 7 บ้านพอกใหญ่ หมู่ที่ 2 บ้านสูงเนิน หมู่ที่ 8 บ้านพอกน้อยพัฒนา หมู่ที่ 3 บ้านดอนต้นม่วง หมู่ที่ 9 บ้านเจริญศิลป์ หมู่ที่ 4 บ้านบดมาด หมู่ที่ 10 บ้านพอกใหญ่สามัคคี หมู่ที่ 5 บ้านสมสะอาด หมู่ที่ 11 บ้านบดมาด หมู่ที่ 6 บ้านคางฮุง หมู่ที่ 12 บ้านสามแยกสูงเนิน 1.4 สภาพเศรษฐกิจ ประชากรในตำบลพอกน้อยส่วนใหญ่ประกอบอาชีพในการเกษตรเป็นหลัก คือ ทำนา ประมาณ ร้อยละ 43.06 รองลงมาได้แก่ ทำนาและรับจ้างทั้งในและนอกสาขาการเกษตรประมาณร้อยละ 20.86, ทำนาและทำไร่ประมาณร้อยละ 18.68, ทำนาและรับราชการประมาณร้อยละ 5.18,รับจ้างทั้งในและนอกสาขาการเกษตรประมาณร้อยละ 4.37, รับราชการประมาณร้อยละ 3.30 และค้าขายประมาณ ร้อยละ 0.82 หน่วยงานธุรกิจในเขตเทศบาลตำบล 1. ปั๊มน้ำมันและก๊าซ จำนวน 1 แห่ง 2. โรงสี (ขนาดเล็ก) จำนวน 15 แห่ง 3. ร้านจำหน่ายสินค้าเบ็ดเตล็ด จำนวน 77 แห่ง 4. บ้านเช่า จำนวน 4 แห่ง 5. ร้านซ่อม จำนวน 8 แห่ง 6. ร้านจำหน่ายอาหาร-เครื่องดื่ม จำนวน 3 แห่ง 7. ร้านบริการเกมส์-อินเตอร์เน๊ต จำนวน 4 แห่ง 8. ร้านจำหน่ายวัสดุก่อสร้าง จำนวน 2 แห่ง 9. ร้านบริการถ่ายภาพ จำนวน 1 แห่ง 10. ร้านหล่อท่อ-เสา จำนวน - แห่ง 11. ร้านรับทำกระจกอลูมิเนียม จำนวน 1 แห่ง 12. ร้านรับทำเหล็กดัด จำนวน - แห่ง 13. อู่ซ่อมรถ-ไดนาโม จำนวน 1 แห่ง หมายเหตุ ข้อมูลจากกองคลัง เทศบาลตำบลพอกน้อย ณ เดือนมกราคม 2557 2. สภาพทางสังคม 2.1 การศึกษา - โรงเรียนประถมศึกษา จำนวน 4 แห่ง - โรงเรียนขยายโอกาส(ประถมและมัธยมในโรงเรียนเดียวกัน) จำนวน 1 แห่ง - ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลพอกน้อย จำนวน 4 แห่ง - ที่อ่านหนังสือพิมพ์ประจำหมู่บ้าน จำนวน 12 แห่ง 2.2 สถาบันและองค์กรทางศาสนา - วัด จำนวน 10 แห่ง - สำนักสงฆ์ จำนวน 1 แห่ง 2.3 สาธารณสุข - โรงพยาบาลประจำตำบล/หมู่บ้าน จำนวน 1 แห่ง - อัตราการมีและใช้ส้วมราดน้ำ ร้อยละ 99.95 2.4 ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน - ป้อมยามตำรวจ จำนวน 1 แห่ง - หน่วยกู้ชีพกู้ภัย ทต.พอกน้อย จำนวน 1 แห่ง 2.5 สถาบันทางการเงิน - สถาบันการเงินบ้านพอกน้อย หมู่ 1 จำนวน 1 แห่ง - กองทุนหมู่บ้าน (กทบ.) จำนวน 12 แห่ง 2.6 สถานที่ท่องเที่ยว ไม่มีสถานที่ท่องเที่ยว 3. การคมนาคมการบริการพื้นฐาน - กราคมนาคมของตำบลพอกน้อย (มีการคมนาคมทางบก) เส้นทางคมนาคมที่สำคัญ คือเส้นทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 22 เป็นเส้นทางหลักของตำบลพอกน้อยซึ่งผ่านพื้นที่ทางตอนใต้ของตำบล ในหมู่ที่ 1,2,4,6,8,9,11 เป็นเส้นทางเชื่อมการคมนาคมระหว่างตำบลและภายในตำบล เช่น ตำบลวังยาง ตำบลนาหัวบ่อ เป็นต้น นอกจากนั้นยังมีถนนทางหลวงจังหวัดหมายเลข 2355 เป็นเส้นทางเชื่อมการคมนาคมภายในตำบลและระหว่างตำบลเช่นกัน ผ่านพื้นที่ หมู่ที่ 2,7,10 ทางด้านตะวันออกของตำบล - การคมนาคมติดต่อกับอำเภอใกล้เคียง ถนนทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 22 เป็นเส้นทางเชื่อมการคมนาคมระหว่างตำบลพอกน้อยกับอำเภอพรรณานิคมและอำเภอเมืองสกลนคร และถนนทางหลวงจังหวัดหมายเลข 2355 เป็นเส้นทางเชื่อมการคมนาคมระหว่างตำบลพอกน้อยกับอำเภออากาศอำนวย - การคมนาคมติดต่อภายในตำบลและตำบลใกล้เคียง นอกจากถนนทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 22 เป็นเส้นทางเชื่อมการคมนาคมระหว่างตำบลพอกน้อยกับตำบลวังยาง และถนนทางหลวงจังหวัดหมายเลข 2355 เป็นเส้นทางเชื่อมการคมนาคม ระหว่างตำบลพอกน้อยกับตำบลสว่าง จะเห็นได้ว่านอกจากถนนทางหลวง 2 เส้น จะใช้เชื่อมการคมนาคมระหว่างตำบลแล้วยังมีถนนในท้องถิ่น ซึ่งเป็นเส้นทางย่อย แยกเข้าเชื่อมหมู่บ้าน หรือพื้นที่การเกษตรของหมู่บ้านต่าง ๆ ซึ่งมีทั้งผิวจราจรลูกรัง ดินและถนนคอนกรีต ผิวจราจรกว้างระหว่าง 3.00-6.00 เมตร ถนนเหล่านี้ใช้ในการเดินทางติดต่อภายในหมู่บ้านหรือกลุ่มบ้านที่อยู่ใกล้เคียงและยังเป็นเส้นทางเข้าสู่พื้นที่การเกษตร - การบริการรถโดยสารและยานพาหนะต่าง ๆ สำหรับการสัญจรไปมาภายในตำบลและระหว่างตำบล ด้านบริการสาธารณะมีรถโดยสารประจำทางสายอุดร-สกล และสายสกล-อากาศ นอกจากนั้นยังมีรถโดยสารสองแถวประมาณมากกว่า 20 คันและรถสามล้อเครื่องประมาณมากกว่า 10 คัน การโทรคมนาคม - ที่ทำการไปรษณีย์โทรเลข จำนวน - แห่ง - สถานีโทรคมนาคมอื่น ๆ จำนวน - แห่ง การไฟฟ้า - จำนวนครัวเรือนที่ใช้ไฟฟ้า จำนวน 2,466 ครัวเรือน - มีไฟฟ้าสาธารณะใช้ครบทุกหมู่บ้าน จำนวน 12 หมู่บ้าน - 4. ด้านสังคม ศักยภาพของชุมชนและพื้นที่ 1. เทศบาลตำบลพอกน้อยประกอบ 12 หมู่บ้าน ที่มีความเข้มแข็ง มีความรักสามัคคี พึ่งพาอาศัยกันได้ มีน้ำใจ และร่วมแรงร่วมใจกันทำประโยชน์สาธารณะต่าง ๆ ได้ดี 2. พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นดินที่มีลูกรังปะปน จึงทำให้ไม่สามารถประกอบอาชีพอย่างอื่นได้นอกจากการประกอบอาชีพด้านเกษตรกรรม ทำสวน เลี้ยงสัตว์ หาของป่า และรับจ้างทั่วไป ทำให้มีรายได้พอแก่การเลี้ยงชีพ 3. ประชาชนส่วนใหญ่เป็นชนเผ่าย้อ เผ่าภูไท และเผ่ากะเลิง ซึ่งมีเอกลักษณ์ภาษาพูด ขนบธรรมเนียมประเพณีเป็นของตนเอง และมีความเชื่อทางไสยศาสตร์ ประชาชนประกอบด้วยคนเชื้อชาติไทยเป็นส่วนใหญ่ การอยู่ร่วมกันในลักษณะพึ่งพาอาศัย กันไม่มีปัญหาเรื่องการทะเลาะวิวาทหรืออาชญากรรมรุนแรง ประชาชนมีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ให้ความร่วมมือที่ดีต่อชุมชน เห็นได้จากเมื่อมีการขอความร่วมมือในกิจกรรมต่าง ๆ ที่เป็นสาธารณะประโยชน์ในเขตเทศบาล 4.1 จุดเด่นของพื้นที่ตำบลพอกน้อย ภายในพื้นที่เทศบาลตำบลพอกน้อยทำให้เห็นว่าตำบลพอกน้อยมีศักยภาพในด้านแหล่งน้ำเนื่องจาก มีระบบชลประทานกระจายอยู่ทั่วทุกพื้นที่ในตำบลตลอดทั้งยังมีแหล่งน้ำธรรมชาติอีกค่อนข้างมากในพื้นที่ ทำให้เหมาะแก่การทำการเกษตรซึ่งทั้งการทำนาข้าวทั้งข้าวนาปีนาปรัง และเป็นแหล่งเพาะปลูกพืชทางการเกษตร หลายชนิด เช่น สินค้า OTOP ประจำตำบล คือ แคนตาลูป และการปลูกพริก เป็นต้น 4.2 ศาสนา ประชาชนประมาณร้อยละ 99. นับถือศาสนาพุทธ 5. ด้านการเมือง 5.1 การบริหาร แบ่งส่วนราชการออกเป็น 5 ส่วนคือ สำนักปลัดเทศบาล กองคลัง กองช่าง กองการศึกษา กองสาธารณสุข มีผู้บังคับบัญชาสูงสุดฝ่ายประจำ คือ ปลัดเทศบาล 1 คน ฝ่ายการเมือง ประกอบด้วย นายกเทศมนตรี 1 คน รองนายกเทศมนตรี 2 คน ที่ปรึกษานายก 1 คน เลขานายก 1 คน มีสมาชิกสภาเทศบาล 12 คน เป็นฝ่ายนิติบัญญัติควบคุมการบริหารของคณะผู้บริหารเทศบาลตำบลพอกน้อย
ข้อมูลทั่วไปของหน่วยงาน

สภาพทั่วไป

1. ข้อมูลสภาพทั่วไป

1.1 ลักษณะที่ตั้ง/อาณาเขต องค์การบริหารส่วนตำบลพอกน้อย ได้รับการจัดตั้งเป็นองค์การบริหารส่วนตำบลพอกน้อย เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2540 ตามประกาศลงวันที่ 16 ธันวาคม 2539 เป็นองค์การบริหารส่วนตำบล 1 ใน 10 ของอำเภอพรรณานิคม จังหวัดสกลนคร ต่อมาได้เปลี่ยนแปลงฐานะเป็นเทศบาลตำบลพอกน้อย ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เมื่อวันที่ 12 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2552 สำนักงานเทศบาลตำบลพอกน้อย ตั้งอยู่หมู่ที่ 8 บ้านพอกน้อยพัฒนา ตำบลพอกน้อย อำเภอพรรณานิคม จังหวัดสกลนคร ห่างจากอำเภอพรรณานิคม ทางด้านทิศตะวันออกของอำเภอ ประมาณ 14 กิโลเมตร และห่างจากจังหวัดสกลนครทางด้านทิศตะวันตกของจังหวัดประมาณ 25 กิโลเมตร ตำบลพอกน้อยมีอาณาเขตติดต่อกับตำบลต่าง ๆ ดังนี้ คือ :- ทิศเหนือ ติดกับ ตำบลสว่าง อำเภอพรรณานิคม จังหวัดสกลนคร ทิศใต้ ติดกับ ตำบลนาหัวบ่อ อำเภอพรรณานิคม จังหวัดสกลนคร ทิศตะวันออก ติดกับ ตำบลนาหัวบ่อ อำเภอพรรณานิคม และตำบลหนองลาด อ.เมือง ทิศตะวันตก ติดกับ ตำบลวังยาง อำเภอพรรณานิคม จังหวัดสกลนคร พื้นที่ เทศบาลตำบลพอกน้อย มีพื้นที่ทั้งหมด 23,437.50 ไร่ หรือ 37.50 ตารางกิโลเมตร

1.2 สภาพภูมิประเทศ ลักษณะภูมิประเทศโดยทั่วไปของตำบลพอกน้อย มีสภาพพื้นที่ราบ ทางด้านตะวันออกมีความสูงจากระดับน้ำทะเลปานกลางน้อยกว่า 180 เมตร ลาดต่ำลงสู่ด้านทิศเหนือของตำบลมีความลาดชัน 0 – 1 % พื้นที่ส่วนใหญ่มีสภาพเป็นดินเค็ม มีแหล่งน้ำธรรมชาติกระจายอยู่ทั่วไปทุกหมู่บ้านที่สำคัญ ได้แก่ ลำน้ำอูน ห้วยใต้ ห้วยบึง ห้วยไผ่ หนองผักแพว หนองคงคา หนองแบน เป็นต้น ได้รับน้ำชลประทานเพื่อทำการเกษตรตลอดปีจากเขื่อนชลประทานน้ำอูน โดยมีคลองส่งน้ำถึงทุกหมู่บ้าน ข้าวนาปีที่ปลูกเป็นหลัก คือ พันธุ์ กข.6 และพืชอายุสั้นที่ปลูกหลังการทำนา ได้แก่ แตงแคนตาลูป พริก ถั่วลิสง มะเขือเทศ แตงโม

1.3 สภาพภูมิอากาศ ลักษณะภูมิอากาศของอำเภอพรรณานิคม มี 3 ฤดู ฤดูร้อน เริ่มตั้งแต่เดือนมีนาคม - เดือนพฤษภาคมของทุกปี ซึ่งอากาศจะร้อนมากในเดือนเมษายน ฤดูฝน เริ่มตั้งแต่เดือนพฤษภาคม - เดือนตุลาคมของทุกปี ฝนจะตกชุกในช่วงเดือนกรกฎาคม -สิงหาคม ฤดูหนาว เริ่มตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน - เดือนกุมภาพันธ์ อากาศจะหนาวจัดในช่วงเดือนธันวาคม เดือนมกราคม จำนวนหมู่บ้าน 12 หมู่บ้าน ได้แก่ จำนวนหมู่บ้านในเขตเทศบาลตำบลพอกน้อย เต็มพื้นที่ทั้งหมด 12 หมู่บ้าน เรียงตามลำดับ ดังนี้ หมู่ที่ 1 บ้านพอกน้อย หมู่ที่ 7 บ้านพอกใหญ่ หมู่ที่ 2 บ้านสูงเนิน หมู่ที่ 8 บ้านพอกน้อยพัฒนา หมู่ที่ 3 บ้านดอนต้นม่วง หมู่ที่ 9 บ้านเจริญศิลป์ หมู่ที่ 4 บ้านบดมาด หมู่ที่ 10 บ้านพอกใหญ่สามัคคี หมู่ที่ 5 บ้านสมสะอาด หมู่ที่ 11 บ้านบดมาด หมู่ที่ 6 บ้านคางฮุง หมู่ที่ 12 บ้านสามแยกสูงเนิน

1.4 สภาพเศรษฐกิจ ประชากรในตำบลพอกน้อยส่วนใหญ่ประกอบอาชีพในการเกษตรเป็นหลัก คือ ทำนา ประมาณ ร้อยละ 43.06 รองลงมาได้แก่ ทำนาและรับจ้างทั้งในและนอกสาขาการเกษตรประมาณร้อยละ 20.86, ทำนาและทำไร่ประมาณร้อยละ 18.68, ทำนาและรับราชการประมาณร้อยละ 5.18,รับจ้างทั้งในและนอกสาขาการเกษตรประมาณร้อยละ 4.37, รับราชการประมาณร้อยละ 3.30 และค้าขายประมาณ ร้อยละ 0.82 หน่วยงานธุรกิจในเขตเทศบาลตำบล 1. ปั๊มน้ำมันและก๊าซ จำนวน 1 แห่ง 2. โรงสี (ขนาดเล็ก) จำนวน 15 แห่ง 3. ร้านจำหน่ายสินค้าเบ็ดเตล็ด จำนวน 77 แห่ง 4. บ้านเช่า จำนวน 4 แห่ง 5. ร้านซ่อม จำนวน 8 แห่ง 6. ร้านจำหน่ายอาหาร-เครื่องดื่ม จำนวน 3 แห่ง 7. ร้านบริการเกมส์-อินเตอร์เน๊ต จำนวน 4 แห่ง 8. ร้านจำหน่ายวัสดุก่อสร้าง จำนวน 2 แห่ง 9. ร้านบริการถ่ายภาพ จำนวน 1 แห่ง 10. ร้านหล่อท่อ-เสา จำนวน - แห่ง 11. ร้านรับทำกระจกอลูมิเนียม จำนวน 1 แห่ง 12. ร้านรับทำเหล็กดัด จำนวน - แห่ง 13. อู่ซ่อมรถ-ไดนาโม จำนวน 1 แห่ง หมายเหตุ ข้อมูลจากกองคลัง เทศบาลตำบลพอกน้อย ณ เดือนมกราคม 2557

2. สภาพทางสังคม

2.1 การศึกษา - โรงเรียนประถมศึกษา จำนวน 4 แห่ง - โรงเรียนขยายโอกาส(ประถมและมัธยมในโรงเรียนเดียวกัน) จำนวน 1 แห่ง - ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลพอกน้อย จำนวน 4 แห่ง - ที่อ่านหนังสือพิมพ์ประจำหมู่บ้าน จำนวน 12 แห่ง

2.2 สถาบันและองค์กรทางศาสนา - วัด จำนวน 10 แห่ง - สำนักสงฆ์ จำนวน 1 แห่ง

2.3 สาธารณสุข - โรงพยาบาลประจำตำบล/หมู่บ้าน จำนวน 1 แห่ง - อัตราการมีและใช้ส้วมราดน้ำ ร้อยละ 99.95

2.4 ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน - ป้อมยามตำรวจ จำนวน 1 แห่ง - หน่วยกู้ชีพกู้ภัย ทต.พอกน้อย จำนวน 1 แห่ง

2.5 สถาบันทางการเงิน - สถาบันการเงินบ้านพอกน้อย หมู่ 1 จำนวน 1 แห่ง - กองทุนหมู่บ้าน (กทบ.) จำนวน 12 แห่ง

2.6 สถานที่ท่องเที่ยว ไม่มีสถานที่ท่องเที่ยว

3. การคมนาคมการบริการพื้นฐาน - กรคมนาคมของตำบลพอกน้อย (มีการคมนาคมทางบก) เส้นทางคมนาคมที่สำคัญ คือเส้นทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 22 เป็นเส้นทางหลักของตำบลพอกน้อยซึ่งผ่านพื้นที่ทางตอนใต้ของตำบล ในหมู่ที่ 1,2,4,6,8,9,11 เป็นเส้นทางเชื่อมการคมนาคมระหว่างตำบลและภายในตำบล เช่น ตำบลวังยาง ตำบลนาหัวบ่อ เป็นต้น นอกจากนั้นยังมีถนนทางหลวงจังหวัดหมายเลข 2355 เป็นเส้นทางเชื่อมการคมนาคมภายในตำบลและระหว่างตำบลเช่นกัน ผ่านพื้นที่ หมู่ที่ 2,7,10 ทางด้านตะวันออกของตำบล - การคมนาคมติดต่อกับอำเภอใกล้เคียง ถนนทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 22 เป็นเส้นทางเชื่อมการคมนาคมระหว่างตำบลพอกน้อยกับอำเภอพรรณานิคมและอำเภอเมืองสกลนคร และถนนทางหลวงจังหวัดหมายเลข 2355 เป็นเส้นทางเชื่อมการคมนาคมระหว่างตำบลพอกน้อยกับอำเภออากาศอำนวย - การคมนาคมติดต่อภายในตำบลและตำบลใกล้เคียง นอกจากถนนทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 22 เป็นเส้นทางเชื่อมการคมนาคมระหว่างตำบลพอกน้อยกับตำบลวังยาง และถนนทางหลวงจังหวัดหมายเลข 2355 เป็นเส้นทางเชื่อมการคมนาคม ระหว่างตำบลพอกน้อยกับตำบลสว่าง จะเห็นได้ว่านอกจากถนนทางหลวง 2 เส้น จะใช้เชื่อมการคมนาคมระหว่างตำบลแล้วยังมีถนนในท้องถิ่น ซึ่งเป็นเส้นทางย่อย แยกเข้าเชื่อมหมู่บ้าน หรือพื้นที่การเกษตรของหมู่บ้านต่าง ๆ ซึ่งมีทั้งผิวจราจรลูกรัง ดินและถนนคอนกรีต ผิวจราจรกว้างระหว่าง 3.00-6.00 เมตร ถนนเหล่านี้ใช้ในการเดินทางติดต่อภายในหมู่บ้านหรือกลุ่มบ้านที่อยู่ใกล้เคียงและยังเป็นเส้นทางเข้าสู่พื้นที่การเกษตร - การบริการรถโดยสารและยานพาหนะต่าง ๆ สำหรับการสัญจรไปมาภายในตำบลและระหว่างตำบล ด้านบริการสาธารณะมีรถโดยสารประจำทางสายอุดร-สกล และสายสกล-อากาศ นอกจากนั้นยังมีรถโดยสารสองแถวประมาณมากกว่า 20 คันและรถสามล้อเครื่องประมาณมากกว่า 10 คัน การโทรคมนาคม - ที่ทำการไปรษณีย์โทรเลข จำนวน - แห่ง - สถานีโทรคมนาคมอื่น ๆ จำนวน - แห่ง การไฟฟ้า - จำนวนครัวเรือนที่ใช้ไฟฟ้า จำนวน 2,466 ครัวเรือน - มีไฟฟ้าสาธารณะใช้ครบทุกหมู่บ้าน จำนวน 12 หมู่บ้าน -

4. ด้านสังคม ศักยภาพของชุมชนและพื้นที่ 1. เทศบาลตำบลพอกน้อยประกอบ 12 หมู่บ้าน ที่มีความเข้มแข็ง มีความรักสามัคคี พึ่งพาอาศัยกันได้ มีน้ำใจ และร่วมแรงร่วมใจกันทำประโยชน์สาธารณะต่าง ๆ ได้ดี 2. พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นดินที่มีลูกรังปะปน จึงทำให้ไม่สามารถประกอบอาชีพอย่างอื่นได้นอกจากการประกอบอาชีพด้านเกษตรกรรม ทำสวน เลี้ยงสัตว์ หาของป่า และรับจ้างทั่วไป ทำให้มีรายได้พอแก่การเลี้ยงชีพ 3. ประชาชนส่วนใหญ่เป็นชนเผ่าย้อ เผ่าภูไท และเผ่ากะเลิง ซึ่งมีเอกลักษณ์ภาษาพูด ขนบธรรมเนียมประเพณีเป็นของตนเอง และมีความเชื่อทางไสยศาสตร์ ประชาชนประกอบด้วยคนเชื้อชาติไทยเป็นส่วนใหญ่ การอยู่ร่วมกันในลักษณะพึ่งพาอาศัย กันไม่มีปัญหาเรื่องการทะเลาะวิวาทหรืออาชญากรรมรุนแรง ประชาชนมีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ให้ความร่วมมือที่ดีต่อชุมชน เห็นได้จากเมื่อมีการขอความร่วมมือในกิจกรรมต่าง ๆ ที่เป็นสาธารณะประโยชน์ในเขตเทศบาล

4.1 จุดเด่นของพื้นที่ตำบลพอกน้อย ภายในพื้นที่เทศบาลตำบลพอกน้อยทำให้เห็นว่าตำบลพอกน้อยมีศักยภาพในด้านแหล่งน้ำเนื่องจาก มีระบบชลประทานกระจายอยู่ทั่วทุกพื้นที่ในตำบลตลอดทั้งยังมีแหล่งน้ำธรรมชาติอีกค่อนข้างมากในพื้นที่ ทำให้เหมาะแก่การทำการเกษตรซึ่งทั้งการทำนาข้าวทั้งข้าวนาปีนาปรัง และเป็นแหล่งเพาะปลูกพืชทางการเกษตร หลายชนิด เช่น สินค้า OTOP ประจำตำบล คือ แคนตาลูป และการปลูกพริก เป็นต้น 4.2 ศาสนา ประชาชนประมาณร้อยละ 99. นับถือศาสนาพุทธ

5. ด้านการเมือง

5.1 การบริหาร แบ่งส่วนราชการออกเป็น 5 ส่วนคือ สำนักปลัดเทศบาล กองคลัง กองช่าง กองการศึกษา กองสาธารณสุข มีผู้บังคับบัญชาสูงสุดฝ่ายประจำ คือ ปลัดเทศบาล 1 คน ฝ่ายการเมือง ประกอบด้วย นายกเทศมนตรี 1 คน รองนายกเทศมนตรี 2 คน ที่ปรึกษานายก 1 คน เลขานายก 1 คน มีสมาชิกสภาเทศบาล 12 คน เป็นฝ่ายนิติบัญญัติควบคุมการบริหารของคณะผู้บริหารเทศบาลตำบลพอกน้อย

 

ข้อมูลหน่วยงาน
ข้อมูลทั่วไปของหน่วยงาน

สภาพทั่วไป 1. ข้อมูลสภาพทั่วไป 1.1 ลักษณะที่ตั้ง/อาณาเขต องค์การบริหารส่วนตำบลพอกน้อย ได้รับการจัดตั้งเป็นองค์การบริหารส่วนตำบลพอกน้อย เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2540 ตามประกาศลงวันที่ 16 ธันวาคม 2539 เป็นองค์การบริหารส่วนตำบล 1 ใน 10 ของอำเภอพรรณานิคม จังหวัดสกลนคร ต่อมาได้เปลี่ยนแปลงฐานะเป็นเทศบาลตำบลพอกน้อย ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เมื่อวันที่ 12 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2552 สำนักงานเทศบาลตำบลพอกน้อย ตั้งอยู่หมู่ที่ 8 บ้านพอกน้อยพัฒนา ตำบลพอกน้อย อำเภอพรรณานิคม จังหวัดสกลนคร ห่างจากอำเภอพรรณานิคม ทางด้านทิศตะวันออกของอำเภอ ประมาณ 14 กิโลเมตร และห่างจากจังหวัดสกลนครทางด้านทิศตะวันตกของจังหวัดประมาณ 25 กิโลเมตร ตำบลพอกน้อยมีอาณาเขตติดต่อกับตำบลต่าง ๆ ดังนี้ คือ :- ทิศเหนือ ติดกับ ตำบลสว่าง อำเภอพรรณานิคม จังหวัดสกลนคร ทิศใต้ ติดกับ ตำบลนาหัวบ่อ อำเภอพรรณานิคม จังหวัดสกลนคร ทิศตะวันออก ติดกับ ตำบลนาหัวบ่อ อำเภอพรรณานิคม และตำบลหนองลาด อ.เมือง ทิศตะวันตก ติดกับ ตำบลวังยาง อำเภอพรรณานิคม จังหวัดสกลนคร พื้นที่ เทศบาลตำบลพอกน้อย มีพื้นที่ทั้งหมด 23,437.50 ไร่ หรือ 37.50 ตารางกิโลเมตร 1.2 สภาพภูมิประเทศ ลักษณะภูมิประเทศโดยทั่วไปของตำบลพอกน้อย มีสภาพพื้นที่ราบ ทางด้านตะวันออกมีความสูงจากระดับน้ำทะเลปานกลางน้อยกว่า 180 เมตร ลาดต่ำลงสู่ด้านทิศเหนือของตำบลมีความลาดชัน 0 – 1 % พื้นที่ส่วนใหญ่มีสภาพเป็นดินเค็ม มีแหล่งน้ำธรรมชาติกระจายอยู่ทั่วไปทุกหมู่บ้านที่สำคัญ ได้แก่ ลำน้ำอูน ห้วยใต้ ห้วยบึง ห้วยไผ่ หนองผักแพว หนองคงคา หนองแบน เป็นต้น ได้รับน้ำชลประทานเพื่อทำการเกษตรตลอดปีจากเขื่อนชลประทานน้ำอูน โดยมีคลองส่งน้ำถึงทุกหมู่บ้าน ข้าวนาปีที่ปลูกเป็นหลัก คือ พันธุ์ กข.6 และพืชอายุสั้นที่ปลูกหลังการทำนา ได้แก่ แตงแคนตาลูป พริก ถั่วลิสง มะเขือเทศ แตงโม 1.3 สภาพภูมิอากาศ ลักษณะภูมิอากาศของอำเภอพรรณานิคม มี 3 ฤดู ฤดูร้อน เริ่มตั้งแต่เดือนมีนาคม - เดือนพฤษภาคมของทุกปี ซึ่งอากาศจะร้อนมากในเดือนเมษายน ฤดูฝน เริ่มตั้งแต่เดือนพฤษภาคม - เดือนตุลาคมของทุกปี ฝนจะตกชุกในช่วงเดือนกรกฎาคม -สิงหาคม ฤดูหนาว เริ่มตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน - เดือนกุมภาพันธ์ อากาศจะหนาวจัดในช่วงเดือนธันวาคม –เดือนมกราคม จำนวนหมู่บ้าน 12 หมู่บ้าน ได้แก่ จำนวนหมู่บ้านในเขตเทศบาลตำบลพอกน้อย เต็มพื้นที่ทั้งหมด 12 หมู่บ้าน เรียงตามลำดับ ดังนี้ หมู่ที่ 1 บ้านพอกน้อย หมู่ที่ 7 บ้านพอกใหญ่ หมู่ที่ 2 บ้านสูงเนิน หมู่ที่ 8 บ้านพอกน้อยพัฒนา หมู่ที่ 3 บ้านดอนต้นม่วง หมู่ที่ 9 บ้านเจริญศิลป์ หมู่ที่ 4 บ้านบดมาด หมู่ที่ 10 บ้านพอกใหญ่สามัคคี หมู่ที่ 5 บ้านสมสะอาด หมู่ที่ 11 บ้านบดมาด หมู่ที่ 6 บ้านคางฮุง หมู่ที่ 12 บ้านสามแยกสูงเนิน 1.4 สภาพเศรษฐกิจ ประชากรในตำบลพอกน้อยส่วนใหญ่ประกอบอาชีพในการเกษตรเป็นหลัก คือ ทำนา ประมาณ ร้อยละ 43.06 รองลงมาได้แก่ ทำนาและรับจ้างทั้งในและนอกสาขาการเกษตรประมาณร้อยละ 20.86, ทำนาและทำไร่ประมาณร้อยละ 18.68, ทำนาและรับราชการประมาณร้อยละ 5.18,รับจ้างทั้งในและนอกสาขาการเกษตรประมาณร้อยละ 4.37, รับราชการประมาณร้อยละ 3.30 และค้าขายประมาณ ร้อยละ 0.82 หน่วยงานธุรกิจในเขตเทศบาลตำบล 1. ปั๊มน้ำมันและก๊าซ จำนวน 1 แห่ง 2. โรงสี (ขนาดเล็ก) จำนวน 15 แห่ง 3. ร้านจำหน่ายสินค้าเบ็ดเตล็ด จำนวน 77 แห่ง 4. บ้านเช่า จำนวน 4 แห่ง 5. ร้านซ่อม จำนวน 8 แห่ง 6. ร้านจำหน่ายอาหาร-เครื่องดื่ม จำนวน 3 แห่ง 7. ร้านบริการเกมส์-อินเตอร์เน๊ต จำนวน 4 แห่ง 8. ร้านจำหน่ายวัสดุก่อสร้าง จำนวน 2 แห่ง 9. ร้านบริการถ่ายภาพ จำนวน 1 แห่ง 10. ร้านหล่อท่อ-เสา จำนวน - แห่ง 11. ร้านรับทำกระจกอลูมิเนียม จำนวน 1 แห่ง 12. ร้านรับทำเหล็กดัด จำนวน - แห่ง 13. อู่ซ่อมรถ-ไดนาโม จำนวน 1 แห่ง หมายเหตุ ข้อมูลจากกองคลัง เทศบาลตำบลพอกน้อย ณ เดือนมกราคม 2557 2. สภาพทางสังคม 2.1 การศึกษา - โรงเรียนประถมศึกษา จำนวน 4 แห่ง - โรงเรียนขยายโอกาส(ประถมและมัธยมในโรงเรียนเดียวกัน) จำนวน 1 แห่ง - ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลพอกน้อย จำนวน 4 แห่ง - ที่อ่านหนังสือพิมพ์ประจำหมู่บ้าน จำนวน 12 แห่ง 2.2 สถาบันและองค์กรทางศาสนา - วัด จำนวน 10 แห่ง - สำนักสงฆ์ จำนวน 1 แห่ง 2.3 สาธารณสุข - โรงพยาบาลประจำตำบล/หมู่บ้าน จำนวน 1 แห่ง - อัตราการมีและใช้ส้วมราดน้ำ ร้อยละ 99.95 2.4 ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน - ป้อมยามตำรวจ จำนวน 1 แห่ง - หน่วยกู้ชีพกู้ภัย ทต.พอกน้อย จำนวน 1 แห่ง 2.5 สถาบันทางการเงิน - สถาบันการเงินบ้านพอกน้อย หมู่ 1 จำนวน 1 แห่ง - กองทุนหมู่บ้าน (กทบ.) จำนวน 12 แห่ง 2.6 สถานที่ท่องเที่ยว ไม่มีสถานที่ท่องเที่ยว 3. การคมนาคมการบริการพื้นฐาน - กราคมนาคมของตำบลพอกน้อย (มีการคมนาคมทางบก) เส้นทางคมนาคมที่สำคัญ คือเส้นทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 22 เป็นเส้นทางหลักของตำบลพอกน้อยซึ่งผ่านพื้นที่ทางตอนใต้ของตำบล ในหมู่ที่ 1,2,4,6,8,9,11 เป็นเส้นทางเชื่อมการคมนาคมระหว่างตำบลและภายในตำบล เช่น ตำบลวังยาง ตำบลนาหัวบ่อ เป็นต้น นอกจากนั้นยังมีถนนทางหลวงจังหวัดหมายเลข 2355 เป็นเส้นทางเชื่อมการคมนาคมภายในตำบลและระหว่างตำบลเช่นกัน ผ่านพื้นที่ หมู่ที่ 2,7,10 ทางด้านตะวันออกของตำบล - การคมนาคมติดต่อกับอำเภอใกล้เคียง ถนนทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 22 เป็นเส้นทางเชื่อมการคมนาคมระหว่างตำบลพอกน้อยกับอำเภอพรรณานิคมและอำเภอเมืองสกลนคร และถนนทางหลวงจังหวัดหมายเลข 2355 เป็นเส้นทางเชื่อมการคมนาคมระหว่างตำบลพอกน้อยกับอำเภออากาศอำนวย - การคมนาคมติดต่อภายในตำบลและตำบลใกล้เคียง นอกจากถนนทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 22 เป็นเส้นทางเชื่อมการคมนาคมระหว่างตำบลพอกน้อยกับตำบลวังยาง และถนนทางหลวงจังหวัดหมายเลข 2355 เป็นเส้นทางเชื่อมการคมนาคม ระหว่างตำบลพอกน้อยกับตำบลสว่าง จะเห็นได้ว่านอกจากถนนทางหลวง 2 เส้น จะใช้เชื่อมการคมนาคมระหว่างตำบลแล้วยังมีถนนในท้องถิ่น ซึ่งเป็นเส้นทางย่อย แยกเข้าเชื่อมหมู่บ้าน หรือพื้นที่การเกษตรของหมู่บ้านต่าง ๆ ซึ่งมีทั้งผิวจราจรลูกรัง ดินและถนนคอนกรีต ผิวจราจรกว้างระหว่าง 3.00-6.00 เมตร ถนนเหล่านี้ใช้ในการเดินทางติดต่อภายในหมู่บ้านหรือกลุ่มบ้านที่อยู่ใกล้เคียงและยังเป็นเส้นทางเข้าสู่พื้นที่การเกษตร - การบริการรถโดยสารและยานพาหนะต่าง ๆ สำหรับการสัญจรไปมาภายในตำบลและระหว่างตำบล ด้านบริการสาธารณะมีรถโดยสารประจำทางสายอุดร-สกล และสายสกล-อากาศ นอกจากนั้นยังมีรถโดยสารสองแถวประมาณมากกว่า 20 คันและรถสามล้อเครื่องประมาณมากกว่า 10 คัน การโทรคมนาคม - ที่ทำการไปรษณีย์โทรเลข จำนวน - แห่ง - สถานีโทรคมนาคมอื่น ๆ จำนวน - แห่ง การไฟฟ้า - จำนวนครัวเรือนที่ใช้ไฟฟ้า จำนวน 2,466 ครัวเรือน - มีไฟฟ้าสาธารณะใช้ครบทุกหมู่บ้าน จำนวน 12 หมู่บ้าน - 4. ด้านสังคม ศักยภาพของชุมชนและพื้นที่ 1. เทศบาลตำบลพอกน้อยประกอบ 12 หมู่บ้าน ที่มีความเข้มแข็ง มีความรักสามัคคี พึ่งพาอาศัยกันได้ มีน้ำใจ และร่วมแรงร่วมใจกันทำประโยชน์สาธารณะต่าง ๆ ได้ดี 2. พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นดินที่มีลูกรังปะปน จึงทำให้ไม่สามารถประกอบอาชีพอย่างอื่นได้นอกจากการประกอบอาชีพด้านเกษตรกรรม ทำสวน เลี้ยงสัตว์ หาของป่า และรับจ้างทั่วไป ทำให้มีรายได้พอแก่การเลี้ยงชีพ 3. ประชาชนส่วนใหญ่เป็นชนเผ่าย้อ เผ่าภูไท และเผ่ากะเลิง ซึ่งมีเอกลักษณ์ภาษาพูด ขนบธรรมเนียมประเพณีเป็นของตนเอง และมีความเชื่อทางไสยศาสตร์ ประชาชนประกอบด้วยคนเชื้อชาติไทยเป็นส่วนใหญ่ การอยู่ร่วมกันในลักษณะพึ่งพาอาศัย กันไม่มีปัญหาเรื่องการทะเลาะวิวาทหรืออาชญากรรมรุนแรง ประชาชนมีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ให้ความร่วมมือที่ดีต่อชุมชน เห็นได้จากเมื่อมีการขอความร่วมมือในกิจกรรมต่าง ๆ ที่เป็นสาธารณะประโยชน์ในเขตเทศบาล 4.1 จุดเด่นของพื้นที่ตำบลพอกน้อย ภายในพื้นที่เทศบาลตำบลพอกน้อยทำให้เห็นว่าตำบลพอกน้อยมีศักยภาพในด้านแหล่งน้ำเนื่องจาก มีระบบชลประทานกระจายอยู่ทั่วทุกพื้นที่ในตำบลตลอดทั้งยังมีแหล่งน้ำธรรมชาติอีกค่อนข้างมากในพื้นที่ ทำให้เหมาะแก่การทำการเกษตรซึ่งทั้งการทำนาข้าวทั้งข้าวนาปีนาปรัง และเป็นแหล่งเพาะปลูกพืชทางการเกษตร หลายชนิด เช่น สินค้า OTOP ประจำตำบล คือ แคนตาลูป และการปลูกพริก เป็นต้น 4.2 ศาสนา ประชาชนประมาณร้อยละ 99. นับถือศาสนาพุทธ 5. ด้านการเมือง 5.1 การบริหาร แบ่งส่วนราชการออกเป็น 5 ส่วนคือ สำนักปลัดเทศบาล กองคลัง กองช่าง กองการศึกษา กองสาธารณสุข มีผู้บังคับบัญชาสูงสุดฝ่ายประจำ คือ ปลัดเทศบาล 1 คน ฝ่ายการเมือง ประกอบด้วย นายกเทศมนตรี 1 คน รองนายกเทศมนตรี 2 คน ที่ปรึกษานายก 1 คน เลขานายก 1 คน มีสมาชิกสภาเทศบาล 12 คน เป็นฝ่ายนิติบัญญัติควบคุมการบริหารของคณะผู้บริหารเทศบาลตำบลพอกน้อย
ข้อมูลทั่วไปของหน่วยงาน

สภาพทั่วไป

1. ข้อมูลสภาพทั่วไป

1.1 ลักษณะที่ตั้ง/อาณาเขต องค์การบริหารส่วนตำบลพอกน้อย ได้รับการจัดตั้งเป็นองค์การบริหารส่วนตำบลพอกน้อย เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2540 ตามประกาศลงวันที่ 16 ธันวาคม 2539 เป็นองค์การบริหารส่วนตำบล 1 ใน 10 ของอำเภอพรรณานิคม จังหวัดสกลนคร ต่อมาได้เปลี่ยนแปลงฐานะเป็นเทศบาลตำบลพอกน้อย ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เมื่อวันที่ 12 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2552 สำนักงานเทศบาลตำบลพอกน้อย ตั้งอยู่หมู่ที่ 8 บ้านพอกน้อยพัฒนา ตำบลพอกน้อย อำเภอพรรณานิคม จังหวัดสกลนคร ห่างจากอำเภอพรรณานิคม ทางด้านทิศตะวันออกของอำเภอ ประมาณ 14 กิโลเมตร และห่างจากจังหวัดสกลนครทางด้านทิศตะวันตกของจังหวัดประมาณ 25 กิโลเมตร ตำบลพอกน้อยมีอาณาเขตติดต่อกับตำบลต่าง ๆ ดังนี้ คือ :- ทิศเหนือ ติดกับ ตำบลสว่าง อำเภอพรรณานิคม จังหวัดสกลนคร ทิศใต้ ติดกับ ตำบลนาหัวบ่อ อำเภอพรรณานิคม จังหวัดสกลนคร ทิศตะวันออก ติดกับ ตำบลนาหัวบ่อ อำเภอพรรณานิคม และตำบลหนองลาด อ.เมือง ทิศตะวันตก ติดกับ ตำบลวังยาง อำเภอพรรณานิคม จังหวัดสกลนคร พื้นที่ เทศบาลตำบลพอกน้อย มีพื้นที่ทั้งหมด 23,437.50 ไร่ หรือ 37.50 ตารางกิโลเมตร

1.2 สภาพภูมิประเทศ ลักษณะภูมิประเทศโดยทั่วไปของตำบลพอกน้อย มีสภาพพื้นที่ราบ ทางด้านตะวันออกมีความสูงจากระดับน้ำทะเลปานกลางน้อยกว่า 180 เมตร ลาดต่ำลงสู่ด้านทิศเหนือของตำบลมีความลาดชัน 0 – 1 % พื้นที่ส่วนใหญ่มีสภาพเป็นดินเค็ม มีแหล่งน้ำธรรมชาติกระจายอยู่ทั่วไปทุกหมู่บ้านที่สำคัญ ได้แก่ ลำน้ำอูน ห้วยใต้ ห้วยบึง ห้วยไผ่ หนองผักแพว หนองคงคา หนองแบน เป็นต้น ได้รับน้ำชลประทานเพื่อทำการเกษตรตลอดปีจากเขื่อนชลประทานน้ำอูน โดยมีคลองส่งน้ำถึงทุกหมู่บ้าน ข้าวนาปีที่ปลูกเป็นหลัก คือ พันธุ์ กข.6 และพืชอายุสั้นที่ปลูกหลังการทำนา ได้แก่ แตงแคนตาลูป พริก ถั่วลิสง มะเขือเทศ แตงโม

1.3 สภาพภูมิอากาศ ลักษณะภูมิอากาศของอำเภอพรรณานิคม มี 3 ฤดู ฤดูร้อน เริ่มตั้งแต่เดือนมีนาคม - เดือนพฤษภาคมของทุกปี ซึ่งอากาศจะร้อนมากในเดือนเมษายน ฤดูฝน เริ่มตั้งแต่เดือนพฤษภาคม - เดือนตุลาคมของทุกปี ฝนจะตกชุกในช่วงเดือนกรกฎาคม -สิงหาคม ฤดูหนาว เริ่มตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน - เดือนกุมภาพันธ์ อากาศจะหนาวจัดในช่วงเดือนธันวาคม เดือนมกราคม จำนวนหมู่บ้าน 12 หมู่บ้าน ได้แก่ จำนวนหมู่บ้านในเขตเทศบาลตำบลพอกน้อย เต็มพื้นที่ทั้งหมด 12 หมู่บ้าน เรียงตามลำดับ ดังนี้ หมู่ที่ 1 บ้านพอกน้อย หมู่ที่ 7 บ้านพอกใหญ่ หมู่ที่ 2 บ้านสูงเนิน หมู่ที่ 8 บ้านพอกน้อยพัฒนา หมู่ที่ 3 บ้านดอนต้นม่วง หมู่ที่ 9 บ้านเจริญศิลป์ หมู่ที่ 4 บ้านบดมาด หมู่ที่ 10 บ้านพอกใหญ่สามัคคี หมู่ที่ 5 บ้านสมสะอาด หมู่ที่ 11 บ้านบดมาด หมู่ที่ 6 บ้านคางฮุง หมู่ที่ 12 บ้านสามแยกสูงเนิน

1.4 สภาพเศรษฐกิจ ประชากรในตำบลพอกน้อยส่วนใหญ่ประกอบอาชีพในการเกษตรเป็นหลัก คือ ทำนา ประมาณ ร้อยละ 43.06 รองลงมาได้แก่ ทำนาและรับจ้างทั้งในและนอกสาขาการเกษตรประมาณร้อยละ 20.86, ทำนาและทำไร่ประมาณร้อยละ 18.68, ทำนาและรับราชการประมาณร้อยละ 5.18,รับจ้างทั้งในและนอกสาขาการเกษตรประมาณร้อยละ 4.37, รับราชการประมาณร้อยละ 3.30 และค้าขายประมาณ ร้อยละ 0.82 หน่วยงานธุรกิจในเขตเทศบาลตำบล 1. ปั๊มน้ำมันและก๊าซ จำนวน 1 แห่ง 2. โรงสี (ขนาดเล็ก) จำนวน 15 แห่ง 3. ร้านจำหน่ายสินค้าเบ็ดเตล็ด จำนวน 77 แห่ง 4. บ้านเช่า จำนวน 4 แห่ง 5. ร้านซ่อม จำนวน 8 แห่ง 6. ร้านจำหน่ายอาหาร-เครื่องดื่ม จำนวน 3 แห่ง 7. ร้านบริการเกมส์-อินเตอร์เน๊ต จำนวน 4 แห่ง 8. ร้านจำหน่ายวัสดุก่อสร้าง จำนวน 2 แห่ง 9. ร้านบริการถ่ายภาพ จำนวน 1 แห่ง 10. ร้านหล่อท่อ-เสา จำนวน - แห่ง 11. ร้านรับทำกระจกอลูมิเนียม จำนวน 1 แห่ง 12. ร้านรับทำเหล็กดัด จำนวน - แห่ง 13. อู่ซ่อมรถ-ไดนาโม จำนวน 1 แห่ง หมายเหตุ ข้อมูลจากกองคลัง เทศบาลตำบลพอกน้อย ณ เดือนมกราคม 2557

2. สภาพทางสังคม

2.1 การศึกษา - โรงเรียนประถมศึกษา จำนวน 4 แห่ง - โรงเรียนขยายโอกาส(ประถมและมัธยมในโรงเรียนเดียวกัน) จำนวน 1 แห่ง - ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลพอกน้อย จำนวน 4 แห่ง - ที่อ่านหนังสือพิมพ์ประจำหมู่บ้าน จำนวน 12 แห่ง

2.2 สถาบันและองค์กรทางศาสนา - วัด จำนวน 10 แห่ง - สำนักสงฆ์ จำนวน 1 แห่ง

2.3 สาธารณสุข - โรงพยาบาลประจำตำบล/หมู่บ้าน จำนวน 1 แห่ง - อัตราการมีและใช้ส้วมราดน้ำ ร้อยละ 99.95

2.4 ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน - ป้อมยามตำรวจ จำนวน 1 แห่ง - หน่วยกู้ชีพกู้ภัย ทต.พอกน้อย จำนวน 1 แห่ง

2.5 สถาบันทางการเงิน - สถาบันการเงินบ้านพอกน้อย หมู่ 1 จำนวน 1 แห่ง - กองทุนหมู่บ้าน (กทบ.) จำนวน 12 แห่ง

2.6 สถานที่ท่องเที่ยว ไม่มีสถานที่ท่องเที่ยว

3. การคมนาคมการบริการพื้นฐาน - กรคมนาคมของตำบลพอกน้อย (มีการคมนาคมทางบก) เส้นทางคมนาคมที่สำคัญ คือเส้นทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 22 เป็นเส้นทางหลักของตำบลพอกน้อยซึ่งผ่านพื้นที่ทางตอนใต้ของตำบล ในหมู่ที่ 1,2,4,6,8,9,11 เป็นเส้นทางเชื่อมการคมนาคมระหว่างตำบลและภายในตำบล เช่น ตำบลวังยาง ตำบลนาหัวบ่อ เป็นต้น นอกจากนั้นยังมีถนนทางหลวงจังหวัดหมายเลข 2355 เป็นเส้นทางเชื่อมการคมนาคมภายในตำบลและระหว่างตำบลเช่นกัน ผ่านพื้นที่ หมู่ที่ 2,7,10 ทางด้านตะวันออกของตำบล - การคมนาคมติดต่อกับอำเภอใกล้เคียง ถนนทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 22 เป็นเส้นทางเชื่อมการคมนาคมระหว่างตำบลพอกน้อยกับอำเภอพรรณานิคมและอำเภอเมืองสกลนคร และถนนทางหลวงจังหวัดหมายเลข 2355 เป็นเส้นทางเชื่อมการคมนาคมระหว่างตำบลพอกน้อยกับอำเภออากาศอำนวย - การคมนาคมติดต่อภายในตำบลและตำบลใกล้เคียง นอกจากถนนทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 22 เป็นเส้นทางเชื่อมการคมนาคมระหว่างตำบลพอกน้อยกับตำบลวังยาง และถนนทางหลวงจังหวัดหมายเลข 2355 เป็นเส้นทางเชื่อมการคมนาคม ระหว่างตำบลพอกน้อยกับตำบลสว่าง จะเห็นได้ว่านอกจากถนนทางหลวง 2 เส้น จะใช้เชื่อมการคมนาคมระหว่างตำบลแล้วยังมีถนนในท้องถิ่น ซึ่งเป็นเส้นทางย่อย แยกเข้าเชื่อมหมู่บ้าน หรือพื้นที่การเกษตรของหมู่บ้านต่าง ๆ ซึ่งมีทั้งผิวจราจรลูกรัง ดินและถนนคอนกรีต ผิวจราจรกว้างระหว่าง 3.00-6.00 เมตร ถนนเหล่านี้ใช้ในการเดินทางติดต่อภายในหมู่บ้านหรือกลุ่มบ้านที่อยู่ใกล้เคียงและยังเป็นเส้นทางเข้าสู่พื้นที่การเกษตร - การบริการรถโดยสารและยานพาหนะต่าง ๆ สำหรับการสัญจรไปมาภายในตำบลและระหว่างตำบล ด้านบริการสาธารณะมีรถโดยสารประจำทางสายอุดร-สกล และสายสกล-อากาศ นอกจากนั้นยังมีรถโดยสารสองแถวประมาณมากกว่า 20 คันและรถสามล้อเครื่องประมาณมากกว่า 10 คัน การโทรคมนาคม - ที่ทำการไปรษณีย์โทรเลข จำนวน - แห่ง - สถานีโทรคมนาคมอื่น ๆ จำนวน - แห่ง การไฟฟ้า - จำนวนครัวเรือนที่ใช้ไฟฟ้า จำนวน 2,466 ครัวเรือน - มีไฟฟ้าสาธารณะใช้ครบทุกหมู่บ้าน จำนวน 12 หมู่บ้าน -

4. ด้านสังคม ศักยภาพของชุมชนและพื้นที่ 1. เทศบาลตำบลพอกน้อยประกอบ 12 หมู่บ้าน ที่มีความเข้มแข็ง มีความรักสามัคคี พึ่งพาอาศัยกันได้ มีน้ำใจ และร่วมแรงร่วมใจกันทำประโยชน์สาธารณะต่าง ๆ ได้ดี 2. พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นดินที่มีลูกรังปะปน จึงทำให้ไม่สามารถประกอบอาชีพอย่างอื่นได้นอกจากการประกอบอาชีพด้านเกษตรกรรม ทำสวน เลี้ยงสัตว์ หาของป่า และรับจ้างทั่วไป ทำให้มีรายได้พอแก่การเลี้ยงชีพ 3. ประชาชนส่วนใหญ่เป็นชนเผ่าย้อ เผ่าภูไท และเผ่ากะเลิง ซึ่งมีเอกลักษณ์ภาษาพูด ขนบธรรมเนียมประเพณีเป็นของตนเอง และมีความเชื่อทางไสยศาสตร์ ประชาชนประกอบด้วยคนเชื้อชาติไทยเป็นส่วนใหญ่ การอยู่ร่วมกันในลักษณะพึ่งพาอาศัย กันไม่มีปัญหาเรื่องการทะเลาะวิวาทหรืออาชญากรรมรุนแรง ประชาชนมีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ให้ความร่วมมือที่ดีต่อชุมชน เห็นได้จากเมื่อมีการขอความร่วมมือในกิจกรรมต่าง ๆ ที่เป็นสาธารณะประโยชน์ในเขตเทศบาล

4.1 จุดเด่นของพื้นที่ตำบลพอกน้อย ภายในพื้นที่เทศบาลตำบลพอกน้อยทำให้เห็นว่าตำบลพอกน้อยมีศักยภาพในด้านแหล่งน้ำเนื่องจาก มีระบบชลประทานกระจายอยู่ทั่วทุกพื้นที่ในตำบลตลอดทั้งยังมีแหล่งน้ำธรรมชาติอีกค่อนข้างมากในพื้นที่ ทำให้เหมาะแก่การทำการเกษตรซึ่งทั้งการทำนาข้าวทั้งข้าวนาปีนาปรัง และเป็นแหล่งเพาะปลูกพืชทางการเกษตร หลายชนิด เช่น สินค้า OTOP ประจำตำบล คือ แคนตาลูป และการปลูกพริก เป็นต้น 4.2 ศาสนา ประชาชนประมาณร้อยละ 99. นับถือศาสนาพุทธ

5. ด้านการเมือง

5.1 การบริหาร แบ่งส่วนราชการออกเป็น 5 ส่วนคือ สำนักปลัดเทศบาล กองคลัง กองช่าง กองการศึกษา กองสาธารณสุข มีผู้บังคับบัญชาสูงสุดฝ่ายประจำ คือ ปลัดเทศบาล 1 คน ฝ่ายการเมือง ประกอบด้วย นายกเทศมนตรี 1 คน รองนายกเทศมนตรี 2 คน ที่ปรึกษานายก 1 คน เลขานายก 1 คน มีสมาชิกสภาเทศบาล 12 คน เป็นฝ่ายนิติบัญญัติควบคุมการบริหารของคณะผู้บริหารเทศบาลตำบลพอกน้อย

 

landscape แผนที่
แผนที่
camera_alt ภาพกิจกรรม
โครงการส่งเสริมและอนุรักษ์ขนบธรรมเนียมประเพณีแข่งขันเรือยาว (เทศบาลตำบลพอกน้อย) ประจำปี 2567[21 สิงหาคม 2567]
โครงการส่งเสริมและอนุรักษ์ขนบธรรมเนียมประเพณีแข่งขันเรือยาว (เทศบาลตำบลพอกน้อย) ประจำปี 2567[21 สิงหาคม 2567]
โครงการส่งเสริมและอนุรักษ์ขนบธรรมเนียมประเพณีแข่งขันเรือยาว (เทศบาลตำบลพอกน้อย) ประจำปี 2567[21 สิงหาคม 2567]
โครงการส่งเสริมและอนุรักษ์ขนบธรรมเนียมประเพณีแข่งขันเรือยาว (เทศบาลตำบลพอกน้อย) ประจำปี 2567[21 สิงหาคม 2567]
 

× เทศบาลตำบลพอกน้อย